ตำแหน่งที่พบได้บ่อย ได้แก่ บริเวณน่อง (แต่อาจพบบริเวณใดก็ได้ที่อยู่ระหว่างตาตุ่มขึ้นไปถึงสะโพก) ซึ่งโดยทั่วไปมักเกิดกับขาทั้งสองข้างมากน้อยแตกต่างกันไป แต่ในบางครั้งอาจเกิดกับขาเพียงข้างเดียวก็ได้ ถ้ามีสาเหตุมาจากการมีก้อนเนื้อในอุ้งเชิงกรานที่กดทับเส้นเลือดดำในอุ้งเชิงกรานเพียงข้างเดียว หรือเกิดจากการมีภาวะเส้นเลือดดำส่วนลึกมีลิ่มเลือดเพียงข้างเดียว นอกจากนี้ ในหญิงตั้งครรภ์อาจพบเส้นเลือดขอดที่บริเวณช่องคลอดได้ด้วย
โดยทั่วไป หลอดเลือดดำโป่งพองที่อยู่ใต้ผิวหนังจะแบ่งตามขนาดได้ ดังนี้
การประเมินความเสี่ยงการเป็นเส้นเลือดขอด
ลดการรับประทานอาหารเค็มเพื่อป้องกันอาการบวม และรับประทานผักผลไม้ให้มากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน เช่น ในวัยรุ่น หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยทอง หรือแม้กระทั่งการรับประทานยาเม็ดคุมกำเนิดก็อาจส่งผลทำให้เกิดเส้นเลือดขอดมากขึ้นได้
ศัลยกรรม ผ่าตัดกระเพาะอาหาร รักษาเส้นเลือดขอด ลดน้ำหนัก
เมื่ออายุมากขึ้น ลิ้นภายในหลอดเลือดที่ช่วยควบคุมการไหลเวียนของเลือดเริ่มเสื่อมสภาพ ทำให้เลือดไหลย้อนกลับเข้าไปสะสมในเส้นเลือดส่วนปลายจนกลายเป็นเส้นเลือดขอด
การตั้งครรภ์ที่ทำให้ฮอร์โมนและน้ำหนักกดทับเส้นเลือดขา
ปัญหาเส้นเลือดขอดจะไม่ร้ายแรงหากใส่ใจที่จะเข้ารับการรักษาโดยเร็ว ดังนั้นเมื่อเป็นเส้นเลือดขอดควรพบแพทย์ผู้ชำนาญการเพื่อทำการดูแลรักษาอย่างถูกต้อง
ยอมรับทั้งหมด จัดการความเป็นส่วนตัว
คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้ รายละเอียดคุกกี้ คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย
ค้นหาแพทย์ คู่มือสำหรับชาวต่างชาติ นัดหมายแพทย์ออนไลน์ ปรึกษาแพทย์ออนไลน์
ความเสี่ยงการอุดตันของหลอดเลือด รักษาได้เร็ว ลดความรุนแรง และการสูญเสียอวัยวะ
ดูแลตัวเองดี ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ